วันเสาร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2553

บทที่ 1 เรื่อง โครงสร้างระบบในองค์กรธุรกิจ


ระบบ  หมายถึง  ชุด ของส่วนประกอบที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน  เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายบางอย่าง ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย
                - คน  (Peopleware)
                - ซอฟต์แวร์  (Software)
                - ฮาร์ดแวร (Hardware)
                - ข้อมูล (Data)



กระบวนการต่าง ๆ ในการดำเนินงาน
                คุณสมบัติที่สำคัญคือ ระบบมีขอบเขตและมีระบบย่อย ซ้อนอยู่ภายใน ระบบที่ดีควรจะมีระบบย่อยที่ทำงานไดสมบูรณ การสื่อสารโตตอบภายในระหว่างระบบย่อย และมีการตรวจสอบการทำงาน

ระบบคอมพิวเตอร์และระบบธุรกิจสามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ
                1. สิ่งที่สัมผัสได หมายถึง สิ่งที่เป็นวัตถุ สิ่งของ หรือสิ่งที่มีชีวิตสามารถจับต้องได
                2. แนวความคิดที่เป็นนามธรรม หมายถึง สิ่งที่อยู่ในระบบที่ไมสามารถมองเห็นหรือจับต้องได ระบบที่เกี่ยวข้องแบงออกเป็น สภาพแวดล้อม ภายนอกระบบ ตัวระบบ
ทำความเข้าใจระบบ



ควรพิจารณาปัจจัยทั้ง 4 มุมมองดังนี้
                1. What วัตถุประสงค์ของระบบคืออะไร
                2. How วิธีการและขั้นตอนการทำงานเพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายเป็นอย่างไร
                3.When เมื่อใดที่เริ่มต้นและสินสุดกิจกรรมนั้นๆ
                4. Who บุคคลหรือกลุ่มคนที่มีหน้าที่รับผิดชอบการดำเนินงานต่าง ๆ ภายในระบบ



ประเภทของระบบ
ระบบปิด เป็นระบบที่ไม่ปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม  โดยมุ่งหมายที่การทำงานภายในตนเอง โดยไม่เกี่ยวข้องหรือไม่รับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อม


ระบบเปิด เป็นระบบที่ปฏิสัมพันธ์สภาพแวดล้อม  มีการแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกันกับสภาพแวดล้อมเป็นระบบที่เกิดขึ้นในธุรกิจ  เนื่องจากในการทำธุรกิจจะต้องมีการติดต่อสัมพันธ์กันระหว่างระบบสิ่งแวดล้อมภายนอกตลอดเวลา


คุณลักษณะที่สำคัญของระบบ
                1.  ระบบจะต้องมีมาตรฐานที่สามารถยอมรับได
                2.  ระบบจะต้องมีวิธีการวัดว่าตรงกับสิ่งที่เป็นจริงตามที่ทำงานอยู
                3.  ระบบจะต้องมีการเปรียบเทียบการทำงานที่แท้จริงกับระบบมาตรฐานที่จัดทำขึ้นนั้น
                4.  ระบบจะต้องมีวิธีการแสดงผลย้อนกลับ หลังจากใช้ระบบไปแลว

รู้จักกับตัวแบบ
                1. ในการผลิตภัณฑ์ เพื่อแสดงถึงลักษณะของความปลอดภัยใยการใชงาน รูปลักษณ์ของรถ กำลังอัดอากาศ และความสะดวกสบายที่ผูใช้จะไดรับ
                2. ผู้รับเหมาก่อสร้าง จะสร้างแบบของบ้านและโครงสร้างอื่น ๆ เพื่อแสดงรูปแบบของทางหนีไฟ
                3. ผู้สอนให้ตัวอย่างคำถามของข้อสอบสำหรับการสอบที่จะมีขึ้น

ประเภทของตัวต้นแบบสามารถแบ่งได้
                1. ตัวแบบทั่วไป หมายถึง ตัวแบบที่สามารถนําไปประยุกตใช้กับสิ่งแวดล้อมได้อย่าง กว้างขวาง
                2. ตัวแบบเฉพาะเจาะจง   หมายถึง ตัวแบบที่สร้างขึ้นเพื่องานเฉพาะอย่าง เพื่อนำไปใช้กับสถานการณที่เฉพาะเจาะจง

นำตัวแบบไปใช้ในการพัฒนาระบบ
                1.  เก็บรวบรวมข้อมูล
                2.  พิจารณาความต้องการ
                3.  พิสูจน์ว่าระบบมีความเป็นไปได้ในการใช้งาน
                4.  เสนอขายระบบใหม่

กระบวนการสร้างตัวต้นแบบ
                1.  สำรวจความต้องการเบื้องต้น
                2.  พัฒนาตัวต้นแบบแรก
                3.  ทบทวนตัวต้นแบบโดยทีม
                4.  แกไขและเสริมการทำงานของตัวต้นแบบ

                6.  ทำให้ผู้ใช้รู้สึกว่าระบบใหม่ที่จะพัฒนาขึ้นนั้นจะเสร็จในเวลาไมนาน
                7.  ไมไดบอกวิธีการใช้งานภายใต้ข้อกำหนด
                8.  ทีมดูแลโครงการละเลยต่อการทดสอบและจัดเอกสาร



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น